fc2ブログ
  JET日本語学校公式ホームページ(to Official Page) / ブログのトップページ(to Blog Top Page)

Google Translate:  한국어로 표시 /  中國語翻驛 /  Translate to English

วิธีการเรียนของผม(私の学習法)

■ナッタポン・カムセーンラート
 ณัฐพล คำแสนลาศ

JET日本語学校 卒業
現在国立金沢大学在学中

การศึกษาภาษาญี่ปุ่น โรงเรียน JET ACADEMY
ปัจจุบัน กำลังศึกษาปริญญาตรีอยู่ที่มหาวิทยาลัย Kanazawa
6NuttaponKumsanlas.jpg

คัดคันจิวันละ1หน้าเป็นเวลา 1ปีครึ่ง

 การเรียนภาษาญี่ปุ่นด้วยระยะเวลาเพียงแค่1ปีครึ่งแล้วสอบวัดระดับภาษา ญี่ปุ่นผ่านระดับ N1 เป็นเรื่องอะไรที่ดีใจมากๆ ในตอนแรกที่มาญี่ปุ่นรู้เพียงแค่ตัวอักษรฮิรางานะและคาตาคานะเท่านั้น หลังจากนั้นอีก 6 เดือน ก็เรียนไวยกรณ์จากหนังสือ "มินนะ โนะ นิฮงโกะ" และเรียนคันจิตัวง่ายๆ เมื่อจบคลาสเรียนชั้นต้นความรู้ทางภาษาก็อยู่ที่ประมาณ N4 หลังจากนั้นในช่วงปิดภาคเรียนฤดูใบไม้ผลิก็เรียนไวยกรณ์ คำศัพท์ และคันจิในระดับ N3

พอเปิดเทอมมาก็ได้เข้าเรียนที่คลาสสำหรับนักเรียนที่จะศึกษาต่อที่ประเทศ ญี่ปุ่น ในคลาสนี้จะได้เรียนไวยกรณ์ในระดับ N2 และ N1 แต่เนื่องจากผมยังไม่สามารถเข้าใจและใช้ ไวยกรณ์ N3 ได้ดีเท่าที่ควร จึงทำให้ต้องเรียนเสริมในช่วงบ่ายของวันที่ไม่มีคลาส ในตอนนั้นเมื่อรวมกับเวลาเรียนในคลาสแล้ว 1 วัน ใช้เวลากับการเรียนมากกว่า 10 ชั่วโมง หลังจากเลิกเรียนแล้วกลับหอพักไปก็พักผ่อนและทานอาหารค่ำ หลังจากนั้นก็ทำการบ้านและเรียนด้วยตัวเองจนถึงประมาณเที่ยงคืนถึงเข้านอน

 ส่วนวิธีการเรียนภาษาญี่ปุ่นที่ทำต่อเนื่องมาตลอด 1 ปีครึ่ง และจะทำทุกวันไม่ว่าจะเป็นวันเสาร์-อาทิตย์ ปิดเทอมภาคฤดูร้อน หรือแม้แต่ในวันปีใหม่นั้นก็คือการคัดคันจิวันละ 1 หน้า ในหนึ่งวันผมจะจำคันจิและคำศัพท์ใหม่ ประมาณ 3 คำ และการฝึกฝนการอ่านก็จะทำข้อสอบย้อนหลังในปีเก่าๆ ที่ได้รับจากคุณครูรวมถึงการอ่านหนังสือพิมพ์ทุกเช้า นอกจากนี้ในระหว่างที่เรียนอยู่ภายในคลาสได้มีการจัดแคมเปญ "อ่านหนังสือกันเถอะ 100 เล่ม" ขึ้น เพื่อเพิ่มความเร็วและทักษะในการอ่านให้กับนักเรียนทุกคนในคลาส ส่วนการฝึกฝนเรื่องการฟังก็จะเหมือนกันการอ่านคือทำข้อสอบเก่า

 นอกจากนี้ในระหว่างทำการบ้านหรืออยู่ที่ห้องนอนก็จะเปิดโทรทัศน์ทิ้งไว้ตลอด จะทำให้ได้ฝึกฝนการฟังตลอดเวลา และสำหรับผมอีกหนึ่งวิธีที่ทำให้ภาษาญี่ปุ่นหรือภาษาอื่นๆพัฒนาก็คือ การนำความรู้ที่ได้เรียนไปมาใช้จริง ด้วยพื้นฐานนิสัยของผมที่เป็นคนยิ้มเก่ง และชอบพูดคุยกับคนอื่นๆ เลยทำให้ได้ใช้ภาษามาพูดคุยกับคนญี่ปุ่นโดยไม่ค่อยเขินอาย และด้วยเหตุนี้ผมคิดว่ามันทำให้ภาษาของผมพัฒนาเพิ่มมากขึ้น


≪翻訳≫
毎日漢字1ページ書き続けた1年半

 1年半ぐらい日本語を勉強して、日本語能力試験のN1に合格したのはとてもうれしい事だった。日本に来た時、ひらがなとカタカナしかできなかった。そのときから6か月間『みんなの日本語』にある文法を勉強して、易しい漢字を勉強した。初級クラスはN4ぐらいできた。その後春休みの時にN3の文法、文字・語彙を勉強した。

 進学クラスに入ると、N2とN1の勉強だった。しかし私はN3の文法はまだうまく使えないので、午後の授業のない日に山口先生とN3の勉強をした。そのときはクラスの勉強の時間を含めて、1日の勉強の時間は10時間以上だった。家に帰ってから、ゆっくり休んだりご飯を食べたりして、その後12時ぐらいまで宿題と自習をした。

 1年半続けた日本語の勉強方法は、毎日1ページ漢字を書くこと。1日に3つぐらい漢字と語彙を覚えた。土曜日も日曜日も夏休みもお正月も続けた。読解の勉強は毎日宿題として先生から過去問題を与えられて、毎朝新聞を読んだ。さらに、早く読めるようになるために、「100冊読もう!キャンペーン」がAクラスの中で行われて、そのことも1つの読解の練習だった。(註:Aクラスの中でナッタポンさんだけ100冊読破した。) 聴解の勉強も授業で過去問題をやったほか、家でテレビを流して、宿題などをやった。

 私にとってはもう一つ大きかったことがある。何語の勉強でも必要なことだ。それは勉強した知識を実際に使うことだ。私はいつも笑って、よくしゃべる性格の人だから、たくさんの人と日本語でしゃべって、日本語の力が上達したと考えている。

ข้อความจากศิษย์เก่าไทย 5(タイ卒業生からのメッセージ 5)

JETで勉強したタイ人の卒業生たちです。
彼らは今、様々なところで活躍しています!
นักเรียนไทยทั้งหลายที่จบการศึกษาจากโรงเรียนเจ็ท
ตอนนี้พวกเขากำลังสร้างผลงานในสถานที่ต่างๆอยู่


■スジットラー・シャンタデス
  ชื่อสุจิตรา จันทะเดชค่ะ

JET日本語学校 卒業
桜美林大学経営学部ビジネスマネジメント学科 卒業
株式会社ティーライブ(イベント会社)に就職
イベント企画・制作並びにその実施イベントの本番の運営や進行として勤務
5sujittraJantadet.jpg
การศึกษาภาษาญี่ปุ่น โรงเรียน Jet Academy
การศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัย โอบิลิน คณะบริหารธุรกิจ ภาควิชาการจัดการธุรกิจ
ปัจจุบัน ทำงานที่บริษัททีไลฟ์ประเทศญี่ปุ่น บริษัทรับจัดงานอีเว้นท์และออแกนไนซ์ ทำหน้าที่ส่วนวางแผน ผลิตงานอีเว้นท์ และวันงานก็ลงพื้นที่จริง เพื่อจัดการดูแลงานอีเว้นท์นั้นๆ

  ชีวิตคุณ คุณเป็นกำหนด(ไม่ใช่ใครกำหนด)  ถ้าคิดว่า อยากเก่งภาษาญี่ปุ่น อยากนำภาษาญี่ปุ่นไปใช้ในการทำงานได้ในอนาคต เป็นที่แน่นอนว่า ควรไปศึกษาในประเทศญี่ปุ่นที่เป็นประเทศเจ้าของภาษาจะดีที่สุด
 อย่างตัวฉันเองทำให้รู้ว่า การศึกษาในต่างประเทศนั้นได้รับประสิทธิภาพเกินกว่าที่คาดคิด แต่นั้นก็ไม่ได้หมายความว่าจะได้รับประสิทธิภาพแค่ในด้านการเรียนภาษาเท่านั้น ด้านความรู้สึกจิตใต้สำนึกก็เป็นที่แน่นอนว่า คุณจะได้รู้ซึ้ง เช่น รู้ซึ้งถึงคำว่า“ขอบคุณ” ขอบคุณถึงผู้ที่ช่วยเหลือค้ำจุนคุณ และอื่นๆอีกมากมาย
 และฉันคิดว่านี้ถือเป็นโอกาสที่ดีที่สุด ที่ผ่านๆมา ที่เราอาจไม่เคยรู้ซึ้ง หรือมองข้ามในบางสิ่งบางอย่าง ก็กลายเป็นมองเห็นรู้ซึ้ง เข้าใจอะไรต่อมิอะไรดีขึ้น เข้าใจชีวิตได้มากขึ้น

≪翻訳≫
 自分の人生は自分で決める。 日本語が上手に話せるようになりたい、将来は仕事で日本語を活かしたいという思いがあれば、絶対日本へ留学すべき!
 留学する事によって、予想以上の成果を得ることが出来ると私は実感しました。それは必ずしも、語学の勉強面だけではありません。自分を支えてくれている人達への感謝の気持ちに気がついたのです。
そして今まで気づかなかった自分に気づくことが出来る最適な機会ではないかと思います。

ข้อความจากศิษย์เก่าไทย 4 (タイ卒業生からのメッセージ 4)

JETで勉強したタイ人の卒業生たちです。
彼らは今、様々なところで活躍しています!
นักเรียนไทยทั้งหลายที่จบการศึกษาจากโรงเรียนเจ็ท
ตอนนี้พวกเขากำลังสร้างผลงานในสถานที่ต่างๆอยู่


■チャチャポン・ニンカムヘン
 ชัชพล นิลกำแหง

JET日本語学校 卒業
東海大学情報理工学部コンピュータ応用工学科 卒業
卒業後本国のスマホアプリ開発会社に勤務した後、自身の会社IDEABOY Recruitmentを経営
4ChatchaphonNilkumhang.jpg
การศึกษาภาษาญี่ปุ่น โรงเรียน Jet Academy
การศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัย Tokai คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาคอมพิวเตอร์
หลังจบการศึกษาทำงานเกี่ยวกับการพัฒนาโปรแกรมสมาร์ตโฟน และปัจจุบันก่อตั้งบริษัท IDEABOY Recruitment และดำรงตำแหน่ง ซีอีโอ

 ถึงน้องๆหรือเพื่อนๆ พี่ๆทุกคนที่กำลังคิดจะไปเรียนภาษาญี่ปุ่นที่ประเทศญี่ปุ่นครับ:
 ประเทศญี่ปุ่นเป็นประเทศหนึ่งที่ผมคิดว่าดีที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ผมไปเรียนและอยู่ตั้งแต่อายุ 18 ถึง 24 ปี ได้โตเป็นผู้ใหญ่ที่นั่นและได้เรียนรู้อะไรหลายๆอย่างนอกจากภาษา ผมแนะนำถ้าคุณเป็นคนไทยควรจะไปเรียนภาษาญี่ปุ่นไว้ครับ เพราะมันเป็นอาวุธที่ดีที่สุดอย่างหนึ่งที่จะทำให้ชีวิตการทำงานในประเทศไทยของคุณดีขึ้นมากๆครับ เชื่อผมเถอะ ;)

≪翻訳≫
日本に留学を考える皆様へ
 私は、日本が世界で一番いい国のひとつだと思っています。私は、18歳から24歳まで日本に住んでいました。大人になった時期、つまり青春の時は、日本でしたので日本語以外のこともたくさん学びました。今でも本当によかったと思っています。タイ人の皆様に一言、日本語を勉強したほうがタイでの仕事に絶対に役に立ちます。あなたの立派な武器になります。ほんとうですよ。;)

ข้อความจากศิษย์เก่าไทย 3 (タイ卒業生からのメッセージ 3)

JETで勉強したタイ人の卒業生たちです。
彼らは今、様々なところで活躍しています!
นักเรียนไทยทั้งหลายที่จบการศึกษาจากโรงเรียนเจ็ท
ตอนนี้พวกเขากำลังสร้างผลงานในสถานที่ต่างๆอยู่


■コータルチャイ・チョンラダー(ニン)
 ชลดา โคตรุชัย (หนิง )

JET日本語学校 卒業
麗澤大学外国語学部日本語学科 卒業
大学卒業後、タイに帰国し日系会社に就職
現在タイの人材派遣会社に勤務
3ChonladaCotaruchai.jpg
日本人の歌舞伎役者といっしょに。隣で写真を持っているのがニンさん
ถ่ายรูปคู่กับนักแสดงคาบูกิชาวญี่ปุ่นโดยหนิงคือคนที่ถือภาพอยู่ทางด้านขวา
ได้รับทุนจากรัฐบาลไทยเพื่อศึกษาต่อในประเทศญี่ปุ่น
การศึกษาภาษาญี่ปุ่น โรงเรียน Jet Academy
การศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัย Reitaku University คณะศึกษาต่างประเทศ สาขาภาษาญี่ปุ่น
เข้าทำงานในบริษัทของคนญี่ปุ่นหลังสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
ปัจจุบันทำงานที่บริษัทรับจัดหางาน เจแม็กซ์ จำกัด

 การศึกษาต่อประเทศญี่ปุ่นมักจะถูกมองว่าต้องเสียค่าใช้จ่ายเยอะ แต่ส่วนตัวแล้วคิดว่าการเรียนต่อต่างประเทศที่นำสิ่งที่ได้เรียนกลับมาใช้ได้เลยและคืนทุนเร็ว ก็คือเรียนที่ประเทศญี่ปุ่นค่ะ ยิ่งได้มาทำงานในบริษัทจัดหางานเองแล้ว ยิ่งเห็นได้ชัดว่า เวลาที่บริษัทญี่ปุ่นจะตัดสินใจรับคนเข้าทำงาน แน่นอนว่าต้องอยากได้คนที่พูดญี่ปุ่นได้ แต่ยิ่งต่อมาที่บริษัทส่วนใหญ่ใช้พิจารณาคือ ผู้สมัครเคยไปใช้ชีวิตที่ประเทศญี่ปุ่นหรือไม่ แค่เราเคยไปเรียนที่ญี่ปุ่นเราก็ได้เปรียบคู่แข่งมากแล้วค่ะ
 สำหรับน้องๆ ที่ยังลังเลกับการไปเรียนต่อญี่ปุ่นอยู่ พี่บอกได้เลยค่ะว่าถ้าน้องๆไป อนาคตที่ดีรอน้องๆอยู่ค่ะ

≪翻訳≫
 日本留学は高いというイメージがありますが、しかし、実際留学した経験をそのまま仕事に使えて、留学の時払ったお金も早く帰ってくるのは、日本の留学ではないかと思います。
特に、人材紹介の仕事の経験からすると、日系企業が人材を選ぶ時、日本語ができることはいうまでもなく必要条件ですが、多くの企業が次に見るのは、日本で生活したことがあるかどうかです。日本に留学したことがあると、就職に非常に有利です。
 日本留学を考えている皆さん、きっとよい将来があなたを待っています!

ข้อความจากศิษย์เก่าไทย 2 (タイ卒業生からのメッセージ 2)

JETで勉強したタイ人の卒業生たちです。
彼らは今、様々なところで活躍しています!
นักเรียนไทยทั้งหลายที่จบการศึกษาจากโรงเรียนเจ็ท
ตอนนี้พวกเขากำลังสร้างผลงานในสถานที่ต่างๆอยู่


■ルキッラック・トリッティマー
 ฑริกติมา เลิศกิจลักษณ์

JET日本語学校 卒業
東海大学文学部広報メディア学科 卒業  
東海大学大学院文学研究科日本文学専攻日本語教育コース 修士課程 卒業
国際交流基金バンコク日本文化センター日本語部専任講師として勤務
2TriktimaLeadkitlax.jpg
การศึกษาภาษาญี่ปุ่น โรงเรียน JET ACADEMY
การศึกษาปริญญาตรี คณะอักษรศาสตร์ เอกโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย Tokai
การศึกษาปริญญาโท คณะอักษรศาสตร์ เอกภาษาญี่ปุ่น สาขาการศึกษาภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัย Tokai
ปัจจุบัน เป็นอาจารย์ประจำ ฝ่ายภาษาญี่ปุ่น ที่ Japan Foundation กรุงเทพฯ

  ถึงน้องๆ ที่กำลังจะไปเรียนต่อญี่ปุ่นทุกคน จำความรู้สึกตอนที่กินอาหารญี่ปุ่นครั้งแรกได้ไหม ไม่ว่ามันจะเป็นเพียงขนมในร้านสะดวกซื้อ หรือซูชิร้านข้างทาง ราเมงร้านหรูก็ตาม ความรู้สึกถึง สิ่งที่แปลกใหม่ สิ่งที่น่าสนใจ สิ่งที่น่าค้นหา สิ่งที่เราไม่เคยรู้จักมันมาก่อน ความรู้สึกนั้น น้องๆ ยังจำได้ไหม ในวันนี้เรามีโอกาสได้พบเจอสิ่งใหม่ๆ เพราะมีการนำเข้ามาในประเทศของเรามากขึ้น แต่ลองคิดกลับกันว่า ถ้าเราเป็นฝ่ายออกไปพบสิ่งใหม่ๆ เอง ชีวิตจะน่าสนใจมากขึ้นแค่ไหน? เป็นกำลังใจให้กับทุกคนที่มีความฝัน และกล้าที่จะทำมันค่ะ

≪翻訳≫
 留学を考える皆さんへ 始めて日本料理を食べたときの気持ちを覚えていますか。それが、コンビニのお菓子でも、屋台のお寿司でも、高級店のラーメンでも…。それを食べたときの気持ち、「なんだか新しいもの」、「なんだか面白いもの」、「なんだか知らなかったもの」だとワクワクした気持ちをまだ覚えていますか。 今は海外からいろいろな物が輸入されてきているので、新しいものと出会うことができます。でももし、新しいものに出会うために、自分から出かけて行ったら、どれだけ人生が面白くなることでしょうか。 夢を持って勇気を出してください。応援しています。

ข้อความจากศิษย์เก่าไทย 1 (タイ卒業生からのメッセージ 1)

JETで勉強したタイ人の卒業生たちです。
彼らは今、様々なところで活躍しています!
นักเรียนไทยทั้งหลายที่จบการศึกษาจากโรงเรียนเจ็ท
ตอนนี้พวกเขากำลังสร้างผลงานในสถานที่ต่างๆอยู่


■ワーサナー・パエティタ (トゥッタ−)
 วาสนา แผลติตะ (ตุ๊กตา)

JET日本語学校 卒業
千葉大学園芸学部生物生産学科 卒業
千葉大学大学院園芸学研究科環境園芸学専攻 博士前期課程 卒業
千葉大学大学院園芸学研究科環境園芸学専攻 博士後期課程 現在
1WasanaPhlaetita.jpg
การศึกษาภาษาญี่ปุ่น โรงเรียน JET ACADEMY
ระดับปริญญาตรี สาขาการเกษตร คณะพืชศาสตร์ มหาวิทยาลัย Chiba
ระดับปริญญาโท สาขาการเกษตรและสิ่งแวดล้อม ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะพืชศาสตร์ มหาวิทยาลัย Chiba
ระดับปริญญาเอก สาขาการเกษตรและสิ่งแวดล้อม ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะพืชศาสตร์ มหาวิทยาลัย Chiba ( กำลังศึกษาอยู่)

  ในการที่เราจะใช้ชีวิตอยู่ในประเทศญี่ปุ่นนั้น ถ้าหากว่าเราสามารถใช้ภาษาญี่ปุ่นได้ การใช้ชีวิตอยู่ในประเทศญี่ปุ่นแล้ว แทบจะหาความลำบากไม่มีเลยทีเดียว และยิ่งถ้าหากว่าเราสามารถใช้ภาษาญี่ปุ่นได้ในระดับดีถึงดีมากแล้วนั้น จะทำให้เราหาประสบการณ์ในด้านต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่นได้อย่างมากมาย....ซึ่งสิ่งนี้คือสิ่งที่ตัวของข้าพเจ้าได้รับจากโรงเรียนสอนภาษา JET แห่งนี้ ยิ่งคนที่สนใจจะเรียนต่อในระดับมหาวิทยาลัย โรงเรียน JET มีคอร์สที่รองรับการเตรียมตัวสอบเข้ามหาวิทยาลัย ด้วยคณะอาจารย์ที่มากความความสามารถและความเอาใจใส่กับนักเรียนแต่ละคน ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ตัวข้าพเจ้าสามารถสอบเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยทางด้านการเกษตรของ จ.ชิบะ และจากการที่เราสามารถสื่อสารเป็นภาษาญี่ปุ่นได้ จึงทำให้ตัวข้าพเจ้าได้มีโอกาสใช้ภาษาญี่ปุ่นทั้งด้านการเรียน และชีวิตนอกเหนือจากการเรียน (กิจกรรมความร่วมมือของทางอำเภอเป็นผู้จัด การเป็นอาสาสมัครแปลไทย-ญี่ปุ่น และยังได้ฝึกหัดการแปล-ล่ามในงานต่าง ๆ เป็นต้น) ซึ่งขณะนี้กำลังศึกษาอยู่มหาวิทยาลัยชิบะในระดับปริญญาเอก ชั้นปีที่3 และมีหัวข้อในการวิจัยคือการถ่ายยีนในกล้วยไม้ ในการที่จะทำให้กล้วยไม้มีสีที่สวยงามและคุณสมบัติอื่น ๆ ที่น่าสนใจในลำดับต่อไป
  ตอนนี้รู้สึกมีความสุขและสนุกกับการเรียน การทำงาน เพราะเราได้ใช้ภาษาญี่ปุ่นอยู่เรื่อย ๆด้วย. อยากขอบคุณคณะครูโรงเรียนJET ที่ได้มอบสิ่งดี ๆ และคำสั่งสอนที่ให้ตลอดมา.

≪翻訳≫
 日本で生活するのにもし日常会話ができたら困ることはほとんどないと思います。しかし、これより高いレベルの日本語が上手に使えるならば勉強はもちろんですがいろいろな経験の幅が広がります。このことについて私はJET日本語学校でできた多くの経験をとても誇りに思っています。特に大学に入学する方にとっておすすめです。JETはふたつのコースがあって、進学コースは日本語だけではなく専門科目(数学、生物、化学)もよくやっていただきました。私はこのコースで勉強しましたが、先生方はよく指導してくださり、ひとりひとりの学生のレベルを見ながら進めてくださいました。だからこそ私は自分が学びたい国立千葉大学園芸学部に合格できたのです。夢のようでした。在学中も日本語ができたおかげでいろいろな経験ができ、専門以外のこともできました(松戸市国際交流会のタイ代表、タイ−日の翻訳ボランティア活動、タイ−日の翻訳−通訳など)
 現在、博士課程の3年生ですが研究は、遺伝子的手法を用いてラン科における形質転換をやっています。この研究のもとで優れた品種を改良し、より新しい色などを目指し、ランの品質向上に取り組んでいます。
 もうそろそろ日本に住むのは10年になりますが、とても幸せな研究生活をおくっております。日本語を使いながら生活するのはとても便利でうれしいことです。JET日本語学校の先生方に心から感謝しています。

N1合格的路

N1合格的路 Natasha Iman(馬来西亜)

從あいうえお開始
在JET開始學習日文是在2012年的春天。雖然也不是不會說日文,但是很長的會話對自己來說覺得非常吃力,聽不懂的日文有很多,想說的事情也沒辦法表達清楚。開始的分班考試,我就在最初級的班級F班,從平假名的あいうえお開始重新學習日文。

偷聽日文日常對話來學習
進入F班以後,我報名了日本語能力試驗(JLPT)N4的考試,離考試當天只有短短的三個月,在這之前要想盡辦法提升自己的日文程度才行,把以前看美劇、韓劇的習慣改成收看日本的電視節目、日劇。在家的時候,至少花一小時來收看日本節目。還有,連在餐廳點餐都不行的我,為了提升日文會話,想了很多的辦法。像是一個人在外面吃飯的時候,聽著周圍日本人的對話,注意他們都是怎麼點餐,在生活當中,實際地和店員或老師們練習會話。而7月的N4也通過了。

從適合小學生的書開始讀
下個學期開始,我進入了中級班,繼續以JLPTN3為目標報名了考試。這時新的同班同學們都是為了進入專門學校就讀。大部份的人都是努力以JLPT N2為目標。對我來說,N3程度的日文不知道的事情還有很多,為了扎實自己的日文,還是沒有和同學們一樣以N2為目標。回想起來,自從進入中級班以後,有著許多不甘心的回憶,N2程度的閱讀測驗裡看不懂的漢字越來越多,這時的我對於中文是母語的同班同學們感到稍稍的嫉妒。為此,我到二手書店買了20多冊小學生的讀物,以每天一本的速度讀完。

腦中想的都是漢字
2013年3月從日本語基礎班畢業,沒返鄉的我在學校度過了我的春假。這個時候的我,在進入升學班以前,以N2為目標,每天在學校練習題目和模擬考。在準備的途中,發現自己以前在中級班學過的漢字不會寫,所以在之後的練習,考古題出現的漢字,只要是不會念、不會寫的漢字全部利用電子辭典查讀音,抄成筆記,反覆地練習漢字。終於在不久之後的N2模擬考合格,N3程度左右的漢字也會寫了。

終於N1合格了
春假結束以後,新學期的第一天,在升學班的學生們就已經第一次接受日本留學試驗(EJU)的模擬考,還記得20題當中只對6題,對速讀還不是很拿手的我,結果讓我受到很大的挫折。認真地檢討自己,雖然在6月前已進入漢字的第二班,但還需要拼命地學漢字,要不然是無法進入早稻田大學就讀的。從那時候開始,每天寫學校發的新聞還有『天声人語』的文章,漢字有不懂的就查好他的讀音,不止如此,我還找了政治相關的教科書及福澤諭吉的『学問のすゝめ』、村上春樹的短文等等來閱讀,比自己的實力更難的書買來繼續閱讀,一邊努力到最後大概買了20本書左右來讀。在不知不覺當中,已經可以閱讀N1程度的文章,也以139分的成績N1合格。N1的學習雖然辛苦,但在學校裡完成了對EJU的學習,在家裡讀小說,利用學校發的文法講義,熱衷地學習N1。

在和大學生的交流會當中有了自信
在JET的期間,感到最有趣的事情是,學到很多課本不會教的事情,在上課中總會介紹到在日常生活中任誰都知道的書或是音樂等等,透過這些和日本人有共鳴的地方,漸漸的可以打入日本人的生活圈,透過學校所舉辦與大學生們的交流會,終於對自己的會話能力感到自信,課外與日本人交流之前,交流會是個很好的機會來練習上課中所學到的文法來應用。

把母語從自己腦中忘記
仔細的思考了一下,果然要把自己的母語從腦中消除是件很重要的事情,而訣竅就是養成說日文,用日文的思考的習慣,當周遭的人開始用日文溝通,自己也會意識到要用日文來思考。一開始,腦中想到的事情要用日文來換句話說雖然很難,但是從初級開始有這個想法開始練習日文,對於未來流暢的日文是有絕對關係的。

每天都用日文
就因為身處在日本,每天說日文,看日文的讀物是很重要的!一開始,想要母語從腦中消除絕對不是簡單的事情。但是從初級班的我到JLPTN1合格,對自己的成長感到非常的有成就感,而這就是我在這兩年不間段的學習日文的成果。

The Road to Passing N1

The Road to Passing N1  Natasha Iman (Malaysia)

First Steps
I began studying Japanese at JET Academy from the spring 2012. At that time, I was barely able to hold basic conversations in Japanese, and had a hard time expressing myself clearly. Understanding what was spoken to me in Japanese was a difficult task and conveying what how I felt was a daily struggle. When I entered JET , I was placed in the lowest class, and had to relearn hiragana with the beginner students.

Eavesdropping As A Tool
When I entered F Class, I decided to take the N4 level of the Japanese Language Proficiency Test (JLPT). There was only three months till the exam, but I wanted to give it a go and see how far I could stretch my Japanese language abilities. I gave up on watching my treasured Korean and English drama series, and began watching Japanese television programs. I watched TV for at least an hour a day, and I tried all sorts of methods to improve my speaking proficiency. One way I accomplished this was by eavesdropping on conversations when I ate at restaurants or cafes. By listening to what people were talking about, I paid close attention to the phrases they used when placing orders and how they spoke. It was like real-time shadowing, and I immediately was able to use the phrases I heard inside and outside the classroom. July of 2012, I was able to pass the JLPT N4.

Trials and Tribulations
In my next semester, I moved to the intermediate class and set aimed to pass the level of the JLPT. Many of my classmates were taking the JLPT N2, as it was a prerequisite for entrance into vocational schools. Rather than skipping N3, I decided to continue to solidify basic grammar and reading skills before moving on. Upon entering my new class, I remember having a tough time coping with the new lessons. We began studying N2 material. I had difficulty reading passages were often used to supplement reading practice. Being in the lowest Kanji class, I wasn’t able to read most of the Chinese characters and felt inferior compared to my peers that could read the passages easily. To tackle the situation, I began reading books meant for primary school students. Also I purchased twenty books at a second-hand bookstore, finishing approximately on average a book per day.

Kanji Cram
In March 2013, I completed the Japanese Language course, and spent my entire spring break continuing on with my Japanese studies. My aim was to pass the N2 before entering the university preparation course. Most of my time was devoted to doing past exams and practice questions. This was when I first realized that I had difficulty writing the Kanji characters that I had learned in my intermediate class. To improve my Kanji writing skills, I made a list of words from the past exams and practice questions. Using the list, I memorized each Kanji along with readings and meanings as well. By June that year, I passed the JLPT N2 and was able to write Kanji characters at the N3 level.

The N1 Goal
The first day of the university preparation course, we were asked to sit for the Examination for Japanese University Admission for International Students (EJU). I was only able to answer six out of the twenty questions and was shocked by my results. Upon much reflection, I realized that I hadn't put in as I should have into studying the Kanji characters. When I entered the University Preparation course, I managed to move from the lowest Kanji class to the second highest class. However, I still felt that my Japanese language skills were inadequate and that it would be impossible to enter into Waseda University. In effort to strengthen my Kanji skills I copied articles from the newspaper articles distributed in school, looking up readings of each new characters. I also read books about Political Science, Yukichi Fukuzawa and essays by Haruki Murakami. I chose books that were higher than the level I was at, forcing myself to read actively. I continued reading and became less dependent on the dictionary and was able to read much more smoothly by the time I got around to reading the last few books. Without realizing it I was able to read the questions from the N1 paper and scoring a 139 points when I sat for it in December last year. In the midst of preparing for my university entrance exams, I barely had time to prepare for the N1 examination. To cope with the two different examinations, I split my days in half spending class time focusing on EJU preparation and time at home preparing for the JLPT.

Confidence Through Language Exchange
While I was a student at JET, I was particularly interested in Japanese than could not be learned through textbooks. In our lessons, we often had teachers talk to us about what the Japanese lifestyle, books that any Japanese person would know and about music . Knowing about these things enabled us to communicate smoothly with Japanese people as we began finding common ground between our different cultures. Furthermore, we had language exchange sessions with Japanese university students. This helped me to gain confidence when speaking to Japanese people. The language exchange sessions became a great place to try out new words and expressions that we learned in class.

Filtering Out Your Mother Tongue
After much thought, I came to realize the importance of learning how to temporarily forget my mother tongue. A way to accomplish this is by constantly speaking Japanese to the people around you and getting into the habit of thinking in Japanese as well. Training your brain to continuously think and speak in Japanese was by no means an easy task. However, getting into the routine of doing it from the beginner level will indefinitely benefit you in the long run.

Fruits of Labor
Being in able to study Japan gives you an excellent opportunity to continuously speak and read Japanese. Temporarily leaving behind your mother tongue is definitely not something easily accomplished, but getting into the routine of doing it has enabled me to pass my JLPT examinations and grow as a Japanese language learner. I believe that this is the main reason why I’ve been able to put great effort into my Japanese studies for the past two years.

N1合格までの道

今年の3月に卒業したナターシャさんの作文です。
彼女は2012年の4月に入学し、「あいうえお」から勉強を始め、最終的にはJLPTのN1に合格しました。
この作文はJET通信74号に掲載されています。


「N1合格までの道」 ナターシャ・イマン ( マレーシア )

「あいうえお」からの出発
JETに入学したのは2012年の春だった。日本語を話せなかった訳でもないが、長い会話をするのがすごく大変だった。聞き取れない事も多く、言いたい事も伝わらなかった。JETの初めてのクラス分けテストで私は一番下のFクラスに入り、ひらがなの「あ・い・う・え・お」から勉強をやりなおした。

会話を盗み聞き
Fクラスに入ってから日本語能力試験(JLPT)のN4級を受けることにした。試験までわずか3ヶ月間しかなかったが、なんとかして日本語力をのばしたかった。いったん韓流ドラマや米国のドラマを見るのを止め、日本の番組やドラマを見るようにしていた。家では毎日せめて一時間くらいテレビ番組やドラマを見た。それに、レストランで注文さえ出来なかった私が会話力をアップするために、様々な事を工夫した。一人で外食したときに、周りの日本人の会話を盗み聞きした記憶がある。日本人はどの表現を利用して注文するかなどを意識しながら聞いたのだ。現実のシャドーイングのように聞いた言葉を、実際に店員さんや学校の先生方に使ってみた。7月のJLPTのN4合格通知書が届いた。

小学生向けの本を読む
次の学期で私は中級のクラスに入り、またJLPTを目標としてN3の試験を受けた。その時新しいクラスメート達が専門学校への進学を希望していたため、ほとんどの人が一所懸命N2レベルの試験を受けた。やはり私にとってN3のレベルでも知らないことが多く、基礎を固めてから次のレベルへ上がりたかった。中級に入ってから特に記憶に残る悔しい思い出がある。N2対策として初めて様々な読解練習問題が出された。一番下の漢字クラスにいたため、読める漢字がほとんどなく、漢字圏のクラスメートに嫉妬を感じた。そこで私が古本店で日本の小学生向けの本を20冊くらい購入し、毎日一冊を読み切った。

漢字を頭に詰め込む
2013年3月、日本語の基礎科から卒業し、帰国せずに私は春休みを学校で過ごしていた。その頃、進学科に入るまでにN2のレベルを目指し、毎日学校で練習問題や模擬試験を受けたりした。N2の勉強が進むにつれて、中級のクラスで学んだ漢字が書けないことに気がついた。そこで、練習問題や模擬試験で出てきた漢字の読み方や知らない言葉の意味を、電子辞書で調べるようにした。調べた言葉をノートに写し、操り返しながら漢字や新しい語彙を頭につめ込んだ。ようやくN2の模擬試験に合格ができ、N3までの漢字も書けるようになったのだ。

ついにN1合格
春休みが終わってから、新学期初日に進学科の学生達が初めての日本留学試験(EJU)の模擬試験を受けた。そこで私は慌てしまい20問のなかで6問しか解けなかった覚えがある。速読力がまだ身についていなかった私が、その模擬試験の結果からかなりのショックを受けた。じっくりと自己分析をした末、また漢字の勉強に力を入れないと、と思った。6月まで上から2番目の漢字クラスに入っていたが、やはりこのままだと早稲田大学を受けるのに無理があると思った。そこで毎日学校で配られた新聞の記事や「天声人語」を写し、漢字の読み方などを調べるようにした。それに政治に関する教科書や福沢諭吉の『学問のすゝめ』をはじめ、村上春樹のエッセイなどを読んだ。自分の実力よりもうちょっと難しい本を選ぶのを心掛け、苦労しながら20冊程度の本を購入し読み続けた。知らないうちに、だんだんN1の文章も読めるようになって来て、無事に139点を取って合格した。忙しい受験勉強の中で、N1の勉強は辛かったがEJUの対策はしっかりと学校で終わらせた。家では小説を読み、配られた文法プリントなどを利用し、N1の勉強に熱中した。

大学生との交流会で会話に自信
JETに通っていた間に特に面白く感じたのは、教科書では勉強できないことをたくさん教わったことだった。授業では日本の生活や誰でも知っている本、音楽などの紹介がよくあった。それを学ぶことによって、日本人との共感のエリアができ、コミュニケーションのやり取りがうまくなった。それに、学校で行われた大学生との交流会を通じて、会話力に自信がついて来たのだ。学外の日本人と話す前に、交流会が練習の場になっていたので、安心して日本語の授業で学習したことを実際に活用することができた。

母国語を一旦頭から消す
よく考えてみると、やはり母国語を一旦頭から消すことが大事に違いない。母国語を頭から消すコツとして、日本語で話し日本語で考える習慣を付けることだと思う。周りに日本語で話をしてくれる人を増やし、頭で考えていることを全て意識しながら日本語で考えることがポイントだ。最初は頭にあることを日本語に入れ替えるのは大変難しいことだが、初級のときから意識しながら練習を続ければ日本語の上達につながるのだ。

毎日、日本語で!
日本にいるからこそ、毎日日本語で話し日本語で読み物を読むことが大切だと思う。最初、母国語を頭から消すのは決して簡単なことではないが、JLPTに合格したり自分の成長を実感すると達成感を感じられる。それによって私は2年間ずっと日本語の学習を頑張り続けられたのだと思う。

夢はアニメーターになること

JET日本語学校の卒業生である謝貽錚さん(台湾)のインタビューが「Study in Japan」に掲載されています。

日本語   ・English   ・한글   ・中国語(簡体字)




謝 貽錚 (Hsieh I-Cheng)

來自:台灣台北

2009年4月來到日本。在日語語言學校學習了1年日本語後,於2010年4月進入東放學園電影專門學校的數碼動畫專業學習。 24歲。

謝貽錚自幼就對日本動畫片非常著迷。當問到“最喜歡的作品是什麼?”時,立即毫不猶豫的回答“宮崎駿導演的《千與千尋的神隱》(《千與千尋》)”。還說“非常喜歡具有樸實故事性的吉卜力工作室(STUDIO GHIBLI)的作品”

謝小姐決定來日本留學的時候,還是大學4年級的學生。本來想學習設計而在台灣的大學專業學習溝通藝術,不過,據說在上大學的時候就對電影產生了濃厚的興趣。大學的畢業作品是動畫製作。當從“觀賞角度”欣賞動畫逐漸萌生“創作”動畫的念頭時,大學的朋友告訴了她關於東放學園電影專門學校的事情。

使他眼前一亮的是“來到日本令人驚訝的是,普通的街道以及高中生的舉止竟然與在動畫片中看到的一模一樣”。

她在進入東放學園學習之前在日語語言學校學習了1年的日語,不過,不熟悉的動畫製作相關的專業術語非常多,據說現在也在繼續自學日語。也為同學所說的年輕人的語言,在日語語言學校沒有學到的像“MUZUI”(“困難的”)而苦惱的同時,每天也在努力的學習動畫和日語。

1年級前期的課程有“3D電腦繪圖”、“卡通形象表現課堂討論”以及“色彩設計”等。喜歡2D動畫的謝小姐說“最喜歡動畫作畫的授課了”。

“這個週末一定要去看吉卜力工作室的電影新作《借東西的小人阿莉埃蒂》”,她的時間裡除了動畫還是動畫。

現在每天沉醉於動畫的她,將來的夢想就是成為活躍於日本和台灣兩地的動畫創作者。 “想繪製卡通形象,劇本也想親自動手創作。想首先在日本就職,不過,想在3D動畫正在成為主流的台灣,推動2D動畫片深入發展。”

在採訪過程中,她一直非常正式的在回答,不過,我印像很深的是,提到非常喜歡的日本偶像組合“暴風雨”中的櫻井翔時她露出了害羞的微笑。

也許在她畢業的時候,一邊熟練的說著專業術語和年輕人的語言,一邊在創造著她自己才有的動畫世界吧。


上傳日:2010年9月9日



Study in Japan とは・・・
 日本国外務省が、文部科学省及び帰国留学生会等関係団体と協力しつつ制作・運用する、
 日本留学に関する総合的な情報をご提供するホームページです。
(以下、他の言語)

続きを読む

全記事表示リンク

全ての記事を表示する

カテゴリ
カレンダー
05 | 2023/06 | 07
- - - - 1 2 3
4 5 6 7 8 9 10
11 12 13 14 15 16 17
18 19 20 21 22 23 24
25 26 27 28 29 30 -
プロフィール

JET Academy

Author:JET Academy
JET日本語学校公式ページへ

 東京都知事から学校法人の認可を受けている「正式な学校」です。文部科学大臣指定の準備教育機関校でもあり、大学や大学院進学希望者のための特別コース(進学科)もあります。進学校として高い評価を受けています。
 課外授業やホームステイなど、日本体験プログラムも数多く用意。明治大学を中心とした日本人大学生との交流も盛んです。

最新記事
検索フォーム
RSSリンクの表示
リンク
QRコード
QRコード